|
|
ตัวชี้วัดที่
3.3
ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการ/ |
|
|
|
|
ภารกิจหลัก (เพิ่มเติมจากคำรับรองฯ ของกรมอนามัย) |
|
|
1) ข้อมูลผลการดำเนินงาน : |
|
|
|
|
|
|
ตัวชี้วัด |
น้ำหนัก(Wi) |
ผลการดำเนิน งาน |
เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับระดับความสำเร็จตามเป้าหมายของตัวชี้วัด |
คะแนน |
คะแนนถ่วงน้ำหนัก |
|
|
|
|
ที่ได้ |
|
|
|
20 |
40 |
60 |
80 |
100 |
(SMi) |
(Wi x SMi) |
|
|
|
|
|
3.3.1
ระดับความสำเร็จของโรงพยาบาลและสถานีอนามัยหรือโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสังกัดกระทรวงสาธารณสุข
เข้าร่วมโครงการสาธารณสุขรวมใจรณรงค์ลดโลกร้อน
ด้วยการสุขาภิบาลอย่างยั่งยืนและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
- โรงพยาบาล
/แหล่งเรียนรู้ |
0.15 |
87 / 8 |
40 |
75 |
115 |
115/12 |
115/23 |
46.4 |
6.96 |
|
|
|
|
|
- สอ หรือ
รพสต. /แหล่งเรียนรู้ |
0.05 |
183 / 1 |
47 |
87 |
134 |
134/13 |
134/27 |
60 |
3 |
|
|
|
|
|
3.3.2
ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีระบบการจัดการสุขาภิบาลอาหารระดับพื้นฐาน |
0.2 |
ขั้นตอนที่ 1 |
ขั้นตอนที่ 1 |
ขั้นตอนที่ 2 |
ขั้นตอน ที่ 3 |
ขั้นตอน ที่ 4 |
ขั้นตอน ที่ 5 |
20 |
4 |
|
|
|
|
|
3.3.3
ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีระบบการจัดบริการน้ำบริโภคระดับพื้นฐาน |
0.2 |
ขั้นตอนที่ 3 |
ขั้นตอนที่ 1 |
ขั้นตอนที่ 2 |
ขั้นตอน ที่ 3 |
ขั้นตอน ที่ 4 |
ขั้นตอน ที่ 5 |
60 |
12 |
|
|
|
|
|
3.3.5
จำนวนตำบลต้นแบบที่ผ่านเกณฑ์ด้านการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาว (LTC) (แห่ง) |
0.2 |
0 |
- |
- |
1 |
2 |
3 |
|
0 |
|
|
|
|
|
3.3.6
ศูนย์อนามัยประสบผลสำเร็จในการ
ขยายผลการดำเนินงาน DPAC
สู่โรงพยาบาล (แห่ง) |
0.2 |
0 |
- |
- |
- |
1 |
2 |
0 |
0 |
|
|
|
|
|
รวม |
1.0 |
|
|
|
|
|
|
|
25.96 |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
ตัวชี้วัดที่ 3.3.1
ระดับความสำเร็จของโรงพยาบาลและสถานีอนามัยหรือโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสังกัดกระทรวง |
|
|
|
สาธารณสุข เข้าร่วมโครงการสาธารณสุขรวมใจรณรงค์ลดโลกร้อน
ด้วยการสุขาภิบาลอย่างยั่งยืน และเป็น |
|
|
|
|
|
มิตรกับสิ่งแวดล้อม |
|
|
|
|
|
ผู้รายงาน นางสาววาสนา คณะวาปี โทรศัพท์ 0 4323 5904 ต่อ 4802 |
|
|
|
|
|
2)
การปฏิบัติงาน/ กิจกรรมที่ได้ดำเนินการไปแล้ว |
|
|
|
|
|
|
จัดประชุมเชิงปฏิบัติการ
เรื่อง การเพิ่มประสิทธิภาพการดำเนินงานลดภาวะโลกร้อนด้วย Carbon footprint
แก่เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานอนามัยสิ่งแวดล้อมของ
สำนักงานสาธารณสุขอำเภอ โรงพยาบาลและสถานีอนามัย/รพสต. จำนวน 2 รุ่น ในวันที่ 28
มกราคม 2554 และ 1 กุมภาพันธ์ 2554 มี ผู้เข้าร่วมประชุมจำนวน 255 คน |
|
|
|
|
3)
ปัจจัยสนับสนุนต่อการดำเนินงาน |
|
|
|
|
|
1.
เป็นนโยบายสำคัญของกระทรวงสาธารณสุข |
|
|
|
|
|
2.
มีการขับเคลื่อนงานของเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานระดับจังหวัด |
|
|
|
|
|
4)
ปัญหา/อุปสรรคต่อการดำเนินงาน |
|
|
|
|
|
กลุ่มเป้าหมายมีจำนวนมาก
ทำให้การเข้าใช้งานโปรแกรม Carbon footprint ล่าช้า และ
ผู้เข้าร่วมประชุมแต่ละคนมีความรู้พื้นฐาน IT
ต่างกันทำให้ผู้เข้าร่วมประชุมบางท่านต้องใช้เวลาในการสร้างความเข้าใจ |
|
|
|
|
5)
หลักฐานอ้างอิง |
|
|
|
|
|
1.ภาพกิจกรรมจัดประชุมลดโลกร้อน |
|
|
|
|
2.รายชื่อสถานบริการสาธารณสุขสมัครเข้าร่วมโครงการ |
|
|
|
|
3.รายงาน โครงการสาธารณสุขรวมใจรณรงค์ลดโลกร้อนฯ
เดือนกุมภาพันธ์ - มีนาคม 2554 |
|
|
|
|
|
|
|
ตัวชี้วัดที่ 3.3.2
ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีระบบการจัดการสุขาภิบาลอาหารระดับพื้นฐาน |
|
|
|
|
ผู้รายงาน นางสมร
ธรรมบุตร โทรศัพท์ 0 4323 5904 ต่อ 4806
มือถือ 08 1059 7790 |
|
|
|
|
|
2)
การปฏิบัติงาน/ กิจกรรมที่ได้ดำเนินการไปแล้ว |
|
|
|
|
|
|
1.จัดทำแผนงานโครงการ |
|
|
|
|
|
|
2.ประสาน อปท. เป้าหมาย |
|
|
|
|
|
|
3.ชี้แจงแนวทางการดำเนินงาน
อปท.เป้าหมาย |
|
|
|
|
|
3)
ปัจจัยสนับสนุนต่อการดำเนินงาน |
|
|
|
|
|
|
|
1.ผู้บริหารอปท.เป้าหมายเห็นความสำคัญ |
|
|
|
|
|
|
2.อปท.เป้าหมายมีความพร้อมด้านบุลากร |
|
|
|
|
|
4)
ปัญหา/อุปสรรคต่อการดำเนินงาน |
|
|
|
|
|
|
|
1.การใช้ SOP
ในการดำเนินงานเป็นเรื่องใหม่ที่ต้องใช้เวลาในการศึกษา |
|
|
|
|
|
5)
หลักฐานอ้างอิง |
|
|
|
|
|
1.แผนงานโครงการอาหารปลอดภัย |
|
|
|
|
|
|
2.หนังสือประสานและขอเชิญประชุมเพื่อชี้แจงแนวทางการดำเนินงาน
อปท.เป้าหมาย |
|
|
|
|
|
3.ภาพการประชุมชี้แจง อปท.เป้าหมาย |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
ตัวชี้วัดที่ 3.3.3
ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีระบบการจัดบริการน้ำบริโภคระดับพื้นฐาน |
|
|
|
|
ผู้รายงาน นางดารณี แก้วจุมพล โทรศัพท์ 0 4323 5904 ต่อ 4804
มือถือ 081-0585608 |
|
|
|
|
|
2)
การปฏิบัติงาน/ กิจกรรมที่ได้ดำเนินการไปแล้ว |
|
|
|
|
|
|
1.จัดแผนงาน/ทำโครงการ |
|
|
|
|
|
|
2.ประสาน อปท.เข้าร่วมดำเนินการ |
|
|
|
|
|
|
3.ชี้แจงแนวทางการดำเนินงาน
และเก็บข้อมูลพื้นฐาน |
|
|
|
|
|
3)
ปัจจัยสนับสนุนต่อการดำเนินงาน |
|
|
|
|
|
|
อปท.เห็นความสำคัญและให้การสนับสนุน |
|
|
|
|
|
4)
ปัญหา/อุปสรรคต่อการดำเนินงาน |
|
|
|
|
|
|
-ไม่มี- |
|
|
|
|
|
5)
หลักฐานอ้างอิง |
|
|
|
|
|
|
1.แผนงานโครงการพัฒนาระบบการจัดบริการน้ำบริโภคระดับพื้นฐานสำหรับ
อปท. |
|
|
|
|
|
|
2.สรุปรายงานชี้แจงโครงการและสำรวจข้อมูลครัวเรือนและน้ำบริโภค |
|
|
|
|
|
|
3.ข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับระบบการจัดบริการน้ำบริโภคของเทศบาลตำบลโคกสี |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
ตัวชี้วัดที่ 3.3.5
จำนวนตำบลต้นแบบที่ผ่านเกณฑ์ด้านการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาว (LTC) |
|
|
|
|
ผู้รายงาน นางสาวชญานิศ เขียวสด โทรศัพท์ 0 4323 5904
ต่อ 4301 |
|
|
|
|
|
2)
การปฏิบัติงาน/ กิจกรรมที่ได้ดำเนินการไปแล้ว |
|
|
|
|
|
|
1.
จัดประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ถอดบทเรียน
การพัฒนาตำบลต้นแบบด้านการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาว ปีงบประมาณ 2554
ระหว่างวันที่ 3-4 มีนาคม 2554 สรุปผลการจัดประชุม
มีผู้เข้าร่วมประชุมจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในพื้นที่รับผิดชอบ 8 จังหวัด
รวมทั้งสิ้น 95 คน ประกอบด้วย บุคลากรสาธารณสุข จาก
สสจ./โรงพยาบาล/PCU/รพ.สต./สถานีอนามัย เทศบาล/อบต. ผู้แทนจากจากชมรมผู้สูงอายุ
และ กลุ่มอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุ/อาสาสมัครสาธารณสุข ประกอบด้วย (1)
การนำเสนอผลผลการดำเนินงานตำบลต้นแบบฯ ปี 2553 จำนวน 8 ตำบล (2) การวิพากษ์
ให้ข้อคิดเห็น ข้อเสนอแนะ เพื่อการพัฒนาตำบลต้นแบบฯ
จากคณะวิทยากรภายนอกและวิทยากรศูนย์ฯ (3) การบรรยาย เรื่อง
การเฝ้าระวังและการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่จำเป็นในชุมชน (4)
การชี้แจงนโยบายการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาว ปี 2554 (5)
การแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุของผู้เข้าร่วมประชุม
โดยใช้รูปแบบสภากาแฟ (6) การจัดทำแผนปฏิบัติการเพื่อพัฒนาตำบลต้นแบบ ใน 3
พื้นที่เป้าหมาย ได้แก่ ตำบลต้นแบบเดิม ขยายพื้นที่ใหม่ในรพ.สต.
และท้องถิ่นต้นแบบ 24 แห่งของศูนย์ฯ |
|
|
|
|
2.
ชี้แจงนโยบายและแนวทางการพัฒนาตำบลต้นแบบฯ ในการประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง
การจัดทำเกณฑ์การพัฒนางานด้านการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมสำหรับท้องถิ่นต้นแบบ
ระหว่างวันที่ 10-11 มีนาคม 2554 |
|
|
|
|
|
3.
สนับสนุนการดำเนินงานของจังหวัดในพื้นที่รับผิดชอบ โดย
เป็นวิทยากรในการประชุมปฏิบัติการ เรื่อง
การพัฒนาตำบลต้นแบบด้านการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาว ปีงบประมาณ 2554
จ.อุดรธานี วันที่ 28 มีนาคม 2554 |
|
|
|
|
3)
ปัจจัยสนับสนุนต่อการดำเนินงาน |
|
|
|
|
|
|
1.
ผู้บริหารของหน่วยงานสาธารณสุขทุกระดับ ให้ความสำคัญ
สนับสนุนให้มีการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง ทั้ง 8 จังหวัด |
|
|
|
|
|
2.
ผู้บริหารของหน่วยงานองค์ปกครองส่วนท้องถิ่นทุกระดับ ให้ความสำคัญ
สนับสนุนให้มีการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง ทั้ง 8 จังหวัด |
|
|
|
4)
ปัญหา/อุปสรรคต่อการดำเนินงาน |
|
|
|
|
|
|
-
ไม่มี- |
|
|
|
|
|
5)
หลักฐานอ้างอิง |
|
|
|
|
|
|
ภาพกิจกรรมการดำเนินงานพัฒนาตำบลต้นแบบด้านการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาว |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
ตัวชี้วัดที่ 3.3.6
ศูนย์อนามัยประสบผลสำเร็จในการขยายผลการดำเนินงาน DPACสู่โรงพยาบาล |
|
|
|
|
ผู้รายงาน นายสฤษดิ์ ผ่องแผ้ว
นางจารินี ยศปัญญา โทรศัพท์ 0-4323-5904 ต่อ 4702 , 4202 |
|
|
|
|
|
2)
การปฏิบัติงาน/ กิจกรรมที่ได้ดำเนินการไปแล้ว |
|
|
|
|
|
|
1.ประชุมปฎิบัติการการดำเนินงานและการจัดตั้งคลินิคDPAC
เมื่อวันที่ 14-16 กุมภาพันธ์ 2554 |
|
|
|
|
|
3)
ปัจจัยสนับสนุนต่อการดำเนินงาน |
|
|
|
|
|
|
1. ผู้รับผิดชอบงานจังหวัดให้ความสำคัญ |
|
|
|
|
|
|
2. ผู้บริหารให้การสนับสนุน |
|
|
|
|
|
4)
ปัญหา/อุปสรรคต่อการดำเนินงาน |
|
|
|
|
|
|
- ไม่มี - |
|
|
|
|
|
5)
หลักฐานอ้างอิง |
|
|
|
|
|
|
ภาพการประชุมปฎิบัติการการดำเนินงานและการจัดตั้งคลินิค
DPAC |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|